วันอังคารที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2556

การแชร์เครื่องพิมพ์(printer) ใน Windows7

การแชร์เครื่องพิมพ์(printer) ใน Windows7
 1. Start > Control Panel > เลือก Choose homegroup and sharing options



2.  ขั้นตอนนี้ให้เลือก Change advaced sharing setting



3. จากนั้นให้เลือก Public (Current profile)



4. File and Printer sharing ให้เป็น Turn on



5. และในส่วนของ Password protected sharing ก็ให้ปรับเป็น Turn Off ครับ และทำการกด Save ในการปิดนี้เป็นการปิด Password ในการแชร์ครับ ซึ่งตัว Defualt ของ Windows 7 จะมี Security เพื่อป้องกันการเข้ามา Access ในไฟล์หรือ Folder นั้นครับ (สำคัญมาก)



6. จากนั้นมาที่ Windows 7 เพื่อทำการ Share Folder ในที่นี้

ผมขอสร้าง Folder Name : Share windows 7
เมื่อสร้างเสร็จแล้ว ผมขออธิบายตามหมายเลขในรูปนะครับ

1. ให้คลิกขวา ที่ Folder Share windows7 แล้วเลือก Properties
2. ให้เลือก Tab Sharing
3. เลือก Advanced Setting
4. ให้ติ๊ก (√) Share this folder จากนั้นให้ใส่ Share name : ผมขอใส่ชื่อว่า share windows7
5. กด Permissions เพื่อกำหนดสิทธิ์
6. ผมให้สิทธิ์ Everyone เป็น Full Control นะครับ

จากนั้น กด Ok เพื่อ Save



Update 4/2/2011 แต่สำหรับคนที่อยากแชร์ไฟล์ของ windows 7 ทั้ง Drive ให้ทำตามนี้ครับ
ให้ไปที่ Drive ที่เราต้องการ Share file จากนั้นให้คลิกขวาที่ Drive เช่น Drive D จากนั้นเลือก Propreties



สังเกตุได้ว่าตรง Share มันกดไม่ได้ แต่เราจะมากด Advanced Sharing แทนครับ



จากนั้นให้เราติ๊กถูก Share this folder จากนั้นใส่ชื่อ Share name : ใส่ชื่อที่คุณต้องการลงไป ในที่นี้ผมใส่ไปว่า share - ITITHAI -Drive D



      เมื่อตั้งชื่อDrive ที่จะแชร์เสร็จแล้วให้เลือกคลิกที่ Permission  และกำหนดสิทธิ์ของ คนๆนั้นที่สามารถเข้ามาใน Folder นี้ได้ ในที่นี้ผมให้ ทุกๆคน (Everyone) สามารถทำได้ทุกอย่าง ผมก็เลือก Full Control ไปเลยครับ (เพราะกรณีนี้ผมอยู่ที่บ้าน )



หลังจากนั้นจะเห็นได้ว่า จะมี Network Path ขึ้นมาแล้ว มันจะปรากฎตามนี้ครับ
\\ชื่อคอมของคุณ\ชื่อDrive ที่แชร์



จากนั้นผมลองทดสอบว่า Drive คอมพิวเตอร์ผมได้แชร์ Drive D ผมแล้วใช่ไหม โดยให้ไปที่ run จากนั้นพิมพ์ \\127.0.0.1



ก็จะเห็น Drive ทั้งหมดที่ผมได้ทำการแชร์ครับ



หรือจะใช้ Command ในการดูก็ได้ครับ ไปที่ Start > run > cmd > net share
ก็จะเห็น Drive ที่เราททำการแชร์ไว้ครับ
Drive C$ และ Drive D$ และ IPC$ และ ADMIN $ จะเป็น Drive Default ที่ windows ทำการแชร์ไว้ให้ครับแต่ที่ไม่เห็นก็เพราะว่าใส่ $ ไว้ครับ มันเป็นการ Hide ไว้ครับ



หลังจากเรากด Share ก็ให้ให้เราพิมพ์ Everyone ลงไปแล้วกด Addตามภาพครับ



จากนั้นให้เลือกตรงลูกศรสีฟ้าครับ ว่าจะปรับให้ได้แค่ อ่านได้อย่างเดียว หรือ ทั้งอ่านและเขียน ลงได้ด้วยครับ เมื่อปรับแล้วให้กด Shareครับ






การแชร์ข้อมูลในเครือข่ายด้วย Windows 7

การแชร์ข้อมูลในเครือข่ายด้วย Windows 7 
  1. อันดับแรกเราต้องทำการเปิดการแชร์ของ network ที่เราใช้อยู่เสียก่อนให้เข้าไปที่ control panel  -> Network and Internet -> Network and Sharing Center เมื่อกดเข้ามาแล้วจะพบกับหน้าต่างดังภาพ
  2. คลิ๊กเลือกไปที่ Change advanced sharing setting เพื่อเข้าสู่เมนูของการปรับแต่งค่าของ Network ซึ่งจุดนี้สำคัญเราต้องปรับค่าให้ตรงกับ Network ที่เราใช้อยู่ โดยทั่วไปจะมี Home , Work network และ Public ซึ่งถ้าเราใช้ Network ตัวไหนอยู่ก็ให้ทำการปรับค่าที่ Network นั้นซึ่งในตัวอย่างเป็น Network แบบ Public เมื่อกดเข้าไปเราหาเมนูดังภาพด้านล่าง
  3. ทำการเปิด Network discovery , File and printer sharing และ Public folder sharing โดยติ๊กเลือกที่ Turn on ดังภาพด้านบน จากนั้นเลื่อนลงมาด้านล่างสุดหาคำว่า Password protected sharing ทำการ Turn of ค่านี้ดังภาพด้านล่าง
  4. เมื่อทำการตั้งค่าเสร็จเรียบร้อยให้กด Save Change แล้วปิดหน้าต่างออกมาได้เลย จากนั้นมาเข้าสู่กระบวนการแชร์ไฟล์ โฟลด์เดอร์ หรือไดร์ฟโดยทำนำเมาส์ไปชี้ที่ไฟล์ โฟลด์เดอร์ หรือไดร์ฟที่ต้องการจะแชร์ คลิ๊กขวาเลือก properties เพื่อเรียกหน้าต่างสำหรับปรับแต่งค่าขึ้นมา จากนั้นเลือกไปที่หัวข้อ Sharing จากนั้นเลือกไปที่ Share คลิ๊กหนึ่งครั้ง
  5. เมื่อคลิ๊กที่คำสั่ง Share แล้วจะปรากฏหน้าต่างสำหรับกำหนดสิทธิ์ ตรงจุดนี้ไม่ต้องใส่ใจเลือกคลิ๊กไปที่ Share ที่อยู่ด้านล่างได้เลยดังภาพ
  6. เมื่อเสร็จสิ้นการแชร์แล้ว เราจำเป็นจะต้องกำหนดสิทธิ์การเข้าถึงไฟล์ โฟลด์เดอร์ หรือไดร์ฟที่เราได้ทำการแชร์เมื่อครู่นี้โดยเลือกไปที่หัวข้อ Security เพื่อทำการกำหนดสิทธิ์โดยเมื่อคลิ๊กเข้าไปก็จะพบกับหน้าต่างดังภาพด้านล่าง
  7. เลือกไปที่ Edit เพื่อเข้าสู่เมนูการเพิ่มสิทธิ์ จากนั้นเลือกไปที่ add
  8. พิมพ์คำว่า everyone ลงในช่อง Enter the object names to select จากนั้นกด Check Name หากพิมพ์ถูกต้องก็จะปรากฏคำว่า Everyone ขึ้นมาดังภาพด้านล่างจากนั้นกด OK
  9. เมื่อทำการเพิ่มชื่อแล้วให้กลับมาดูที่ช่องของการกำหนดสิทธิ์ในส่วนของ Group or user names ถ้ามี Everyone ปรากฎอยู่ก็เป็นอันเสร็จให้กด OK ออกมาได้เลยเท่านี้เครื่องเราก็จะสามารถทำการแชร์ไฟล์ได้ตามปกติแล้ว

การเข้าหัว RJ-45

การเข้าหัว RJ 45 แบบสายตรง และ แบบสายไขว์
วิธีการเข้าหัวสายแลน ( RJ-45 )
การเข้าแบบสายตรง  เป็นการเชื่อมต่อแบบต่างอุปกรณ์ เช่น การใช้สายต่อกันระหว่าง คอมพิวเตอร์ กับ Switch หรือ HUB

แบบสายตรง
- ปลายสายด้านที่ 1
1. ขาวส้ม
2. ส้ม
3. ขาวเขียว
4. น้ำเงิน
5. ขาวน้ำเงิน
6. เขียว
7. ขาวน้ำตาล
8. น้ำตาล

- ปลายสายด้านที่ 2
1. ขาวส้ม
2. ส้ม
3. ขาวเขียว
4. น้ำเงิน
5. ขาวน้ำเงิน
6. เขียว
7. ขาวน้ำตาล
8. น้ำตาล

แบบสายไขว์
- ปลายสายด้านที่ 1
1.ขาวเขียว
2.เขียว
3.ขาวส้ม
4.น้ำเงิน
5.ขาวน้ำเงิน
6.ส้ม
7.ขาวน้ำตาล
8.น้ำตาล

- ปลายสายด้านที่ 2
1.ขาวเขียว
2.เขียว
3.ขาวส้ม
4.น้ำเงิน
5.ขาวน้ำเงิน
6.ส้ม
7.ขาวน้ำตาล
8.น้ำตาล


 วิธีการเข้าหัวสายแลน ( RJ-45 ) แบบสายตรง และสายไขว์


วิธีการเข้าหัวสายแลน
1. สาย CAT5 (สายแลน) ตามความยาวที่ต้องการ แต่ไม่ควรเกิน 100 m.




2. คริมเข้าหัว RJ-45



3. หัว RJ-45 ใช้สองหัว ต่อหนึ่งเส้น

ต่อไปมาดูวิธีการเข้าหัวกัน
1. ปลอกเปลือกนอกของสาย CAT5 ออก โดยห่างจากปลายสายประมาณ 2-3 cm.
ใช้คัตเตอร์หรือมีดปลอกเปลือกที่มากับคริม


ระวังอย่าให้สายข้างในขาด สายภายในจะเป็นเกรียวกันเป็นคู่ สี่คู่ สี่สี



2. คลายเกรียวออกทั้งหมด

 3. จับเลียงลำดับสายใหม่ดังนี้
หากต้องการทำสายตรง (ใช้สำหรับเครื่องคอมไป Hub)
ให้เรียงสีดังนี้ทั้งสองข้าง
ขาวส้ม ส้ม ขาวเขียว ฟ้า ขาวฟ้า เขียว ขาวน้ำตาล น้ำตาล
ส่วนสายครอส ให้เรียงตามนี้ข้างหนึ่ง (สำหรับต่อคอมกับคอม)
ขาวเขียว ส้ม ขาวส้ม ฟ้า ขาวฟ้า เขียว ขาวน้ำตาล น้ำตาล
และอีกข้างหนึ่ง
ขาวส้ม เขียว ขาวเขียว ฟ้า ขาวฟ้า ส้ม ขาวน้ำตาล น้ำตาล

4. หลังจากเรียงสายเรียบร้อยแล้ว จับสายที่เรียงให้แน่น อย่าให้สลับ
แล้วสอดเข้าหัว RJ-45 ให้สุดปลอก
ดูว่าสายทุกสีเข้าจนสุดปลอกแล้ว

5. นำสายพร้อมปลอกเข้าคริมแล้วบีบสุดแรงเกิด

เข้าหัว RJ 45 แบบสายตรงที่เสร็จสมบูรณ์

  เข้าหัว RJ 45 แบบไขว์แบบสมบูรณ์
 
 
ที่มา : http://loogyeepong11.blogspot.com/2011/11/rj-45.html

วันอาทิตย์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2556

การรักษาความปลอดภัยบนระบบเครือข่าย



การรักษาความปลอดภัยระบบเครือข่าย

   ในระบบเครือข่ายนั้นจะมีผู้ร่วมใช้เป็ นจ านวนมาก ดังนั้นจึงมีทั้งผู้ที่ประสงค์ดีและประสงค์ร้ายควบคู่
กันไป สิ่งที่พบเห็นกันบ่อยๆ ในระบบเครือข่ายก็คืออาชญากรรมทางด้านเครือข่ายคอมพิวเตอร์หลาย
ประเภทด้วยกันเช่น พวกที่คอยดักจับสัญญาณผู้อื่นโดยการใช้เครื่องมือพิเศษจั๊มสายเคเบิลแล้วแอบบันทึกสัญญาณ พวกแคร๊กเกอร์
(Crackers) ซึ่งได้แก่ ผู้ที่มีความรู้ความชำนาญด้านคอมพิวเตอร์แต่มีนิสัยชอบเข้าไปเจาะระบบ
คอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย หรือไวรัสคอมพิวเตอร์ (Virus Computer)ซึ่งเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เขียนขึ้นมาโดยมุ่งหวังในการก่อกวนหรือทำลายข้อมูลในระบบ
การรักษาความปลอดภัยในระบบเครือข่ายมีวิธีการกระท าได้หลายวิธีคือ
1. ควรระมัดระวังในการใช้งาน การติดไวรัสมักเกิดจากผู้ใช้ไปใช้แผ่นดิสก์ร่วมกับผู้อื่น แล้วแผ่น
นั้นติดไวรัสมา หรืออาจติดไวรัสจากการดาวน์โหลดไฟล์มาจากอินเทอร์เน็ต
2. หมั่นสำเนาข้อมูลอยุ่เสมอ การป้องกันการสูญหายและถูกทำลายของข้อมูลที่ดีก็คือ การหมั่น
สำเนาข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ
3. ติดตั้งโปรแกรมตรวจสอบและกาจัดไวรัส วิธีการนี้ สามารตรวจสอบและป้องกันไวรัส
คอมพิวเตอร์ได้ระดับหนึ่ง แต่ไม่ใช่เป็นการป้องกันได้ทั้งหมด เพราะว่าไวรัสคอมพิวเตอร์ได้มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา
4. การติดตั้งไฟร์วอลล์ (Firewall) ไฟร์วอลล์จะทำหน้าที่ป้องกันบุคคลอื่นบุกรุกเข้ามาเจาะ
เครือข่ายในองค์กรเพื่อขโมยหรือทำลายข้อมูล เป็นระยะที่ทำหน้าที่ป้องกันข้อมูลของเครือข่าย โดยการควบคุมและตรวจสอบการรับส่งข้อมูลระหว่างเครือข่ายภายในกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
5. การใช้รหัสผ่าน (Username & Password) การใช้รหัสผ่านเป็นระบบรักษาความปลอดภัยขั้น
แรกที่ใช้กันมากที่สุด เมื่อมีการติดตั้งระบบเครือข่ายจะต้องมีการกำหนดบัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน หากเป็ นผู้อื่นที่ไม่ทราบรหัสผ่านก็ไม่สามารถเข้าไปใช้เครือข่ายได้หากเป็ นระบบที่ต้องการความปลอดภัยสูงก็ควรมีการเปลี่ยนรหัสผ่านบ่อย ๆ เป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่องจรรยาบรรณสำหรับผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
            ปัจจุบันมีผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตเป็นจำนวนมาก และมีจ านวนเพิ่มขึ้นทุกวัน เครือข่าย
อินเทอร์เน็ตเป็ นระบบออนไลน์ที่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกันได้ในเครือข่ายย่อมมีผู้ประพฤติไม่ดีปะปนอยู่ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาต่อส่วนรวมอยู่เสมอ
             แต่ละเครือข่ายจึงได้ออกกฏเกณฑ์การใช้งานภายในเครือข่าย เพื่อให้สมาชิกในเครือข่ายของตนยึดถือและปฏิบัติตามกฎเกณฑ์เหล่านี้จะช่วยให้สมาชิกโดยส่วนรวมได้รับประโยชน์สูงสุด และป้ องกันปัญหาที่เกิดจากผู้ใช้บางคนได้ดังนั้นผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทุกคนจะต้องเข้าใจกฏเกณฑ์ข้อบังคับของเครือข่ายที่89ตนเองเป็ นสมาชิกจะต้องมีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้ร่วมใช้บริการคนอื่น และจะต้องรับผิดชอบต่อการกระท าของตนเองที่เข้าไปขอใช้บริการต่างๆ บนเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตใช้บริการอยู่ มิได้เป็ นเพียงเครือข่ายขององค์กรที่ผู้ใช้เป็ น
สมาชิกอยู่เท่านั้น แต่เป็ นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงเครือข่ายต่างๆ จ านวนมากเข้าไว้ด้วยกัน มีข้อมูลข่าวสารวิ่งอยู่ระหว่างเครือข่ายมากมายการส่งข่าวสารลงในเครือข่ายนั้นอาจทำให้ข่าวสาร กระจายไปยังเครือข่ายอื่นๆ เช่น การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ฉบับหนึ่งอาจจะต้องเดินทางผ่านเครือข่ายหลายเครือข่ายจนกว่าจดหมายฉบับนั้นจะ เดินทางถึงปลายทาง ดังนั้นผู้ใช้อินเทอร์เน็ตจะต้องให้ความส าคัญและตระหนักถึงปัญหา ปริมาณข้อมูลข่าวสารที่วิ่ง
อยู่บนเครือข่ายแม้ผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตจะได้รับสิทธ์ิจากผ้บู ริหารเครือข่ายให้ใช้บริการต่างๆ บนเครือข่ายนั้นได้ผู้ใช้จะต้องเข้าใจกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่เครือข่ายนั้นวางไว้ด้วยไมพึงละเมิดสิทธิ์หรือกระทำการใดๆ ที่จะสร้างปัญหาหรือไม่เคารพกฎเกณฑ์ที่แต่ละเครือข่ายวางไว้และจะต้องปฏิบัติตามค าแนะน าของผู้บริหารเครือข่ายนั้นอย่างเคร่งครัดการใช้งานอินเทอร์เน็ตอย่างสร้างสรรค์และเป็ นประโยชน์จะท าให้สังคมอินเทอร์เน็ตเป็ นสังคมที่น่าใช้และเป็ นประโยชน์ต่อส่วนรวม ผู้ใช้จะต้องหลีกเลี่ยงกิจกรรมบางอย่างที่ไม่ควรปฏิบัติ เช่น การส่งกระจายข่าวลือจ านวนมากบนเครือข่ายการกระจายข่าวแบบส่งกระจายไปยังปลายทางจ านวนมาก การส่งเอกสารจดหมายลูกโซ่เป็ นต้น กิจกรรมเหล่านี้จะเป็ นผลเสียต่อส่วนรวม และไม่เกิดประโยชน์ใดๆ ต่อสังคมอินเทอร์เน็ต
บัญญัติ 10 ประการ สำ  หรับผู้ใช้อนิเทอร์เน็ตยืน ภ่วูรวรรณ ได้กล่าวถึงบัญญัติ 10 ประการซึ่งเป็ นจรรยาบรรณที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตยึดถือไว้เสมือนเป็ นแม่บทของการปฏิบัติผู้ใช้พึงระลึกและเตือนความจ าเสมอ
1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้าย หรือละเมิดผู้อื่น
2. ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น
3. ต้องไม่สอดแนม แก้ไข หรือเปิ ดดูแฟ้ มข้อมูลของผู้อื่น
4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็ นเท็จ
6. ต้องไมค่ ดัลอกโปรแกรมของผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์
7. ต้องไมล่ ะเมดิการใช้ทรัพยากรคอมพวิเตอร์โดยท่ีตนเองไม่มีสิทธิ์
8. ต้องไม่นำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็ นของตน
9. ต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมอันติดตามมาจากการกระทำของท่าน
10. ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฏระเบียบ กติกา และมีมารยาท90
                จรรยาบรรณเป็ นสิ่งที่ทำให้สังคมอินเทอร์เน็ตเป็ นระเบียบ ความรับผิดชอบต่อสังคมเป็ นเรื่องที่จะต้องปลูกฝังกฏเกณฑ์ของแต่ละเครือข่ายจะต้องมีการวางระเบียบ เพื่อให้การด าเนินงาน เป็ นไปอย่างมีระบบ และเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน บางเครือข่ายมีบทลงโทษที่ชัดเจน เช่น การปฏิบัติผิดกฏเกณฑ์ของเครือข่ายจะต้องตดัสทิธ์ิการเป็นผ้ใช้ของเครือข่ายในอนาคตจะมี การใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็ นจำนวนมากจรรยาบรรณจึงเป็ นสิ่งที่ช่วยให้สังคมอินเทอร์เน็ต สงบสุข หากมีการละเมิดอย่างรุนแรง กฎหมายจะเข้ามามีบทบาทต่อไป
จรรยาบรรณเกี่ยวกับเวิล์ดไวด์เว็บ (WWW)
1. ไม่ควรใส่รูปภาพที่มีขนาดใหญ่ไว้ในเว็บเพจของท่าน เพราะทำให้ผู้ที่เรียกดูต้องเสียเวลามาก ใน
การแสดงภาพเหล่านั้น ผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตส่วนมากเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตด้วยโมเด็ม ท าให้ผู้เรียกดูรูปภาพขนาดใหญ่เบื่อเกินกว่าที่จะรอชมรูปภาพนั้นได้
2. เมื่อเว็บเพจของท่านต้องการสร้าง link ไปยังเว็บเพจของผู้อื่น ท่านควรแจ้งให้เจ้าของเว็บเพจ นั้น
ทราบ ท่านสามารถแจ้งได้ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
3. ถ้ามีวิดีโอหรือเสียงบนเว็บเพจ ท่านควรระบุขนาดของไฟล์วิดีโอหรือไฟล์เสียงไว้ด้วย (เช่น 10 KB, 
2 MB เป็ นต้น)เพื่อให้ผู้เรียกดูสามารถค านวนเวลา ที่จะใช้ในการดาวน์โหลด ไฟล์วิดีโอ หรือไฟล์เสียงนั้น
4. ควรต้องชื่อ URL ให้ง่ายไม่ควรมีตัวอักษรตัวใหญ่ปนกับตัวอักษรตัวเล็ก ซึ่งจ าได้ยาก
5. ถ้าต้องการเรียกดูข้อมูลจาก URL ที่ไม่ทราบแน่ชัด ท่านสามารถเริ่มค้นหาจาก Domain address 
ได้โดยปกติ URL มักจะเริ่มต้นด้วย www แล้วตามด้วยที่อยู่ของเว็บไซต์ เช่น
http://www.nectec.or.th/
http://www.tv5.co.th/
http://www.kmitl.ac.th/ 
http://www.srithai.com/
6. ถ้าเว็บไซด์มี link เชื่อมโยงไปยังเว็บเพจอื่นๆ ด้วยรูปภาพ อาจท าให้ผู้เรียกดูที่ใช้โปรแกรม
บราวเซอร์ที่ไม่สนับสนุนรูปภาพ ไม่สามารถเรียกชมเว็บไซต์ของท่านได้ ท่านควรเพิ่ม link ที่เป็ นตัวหนังสือเพื่อเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจอื่นๆ ด้วย
7. ไม่ควรใส่รูปภาพที่ไม่มีความส าคัญต่อข้อมูลบนเว็บเพจ เนื่องจากไฟล์ของรูปภาพมีขนาดใหญ่ 
ท าให้เสียเวลาในการเรียกดูและสิ้นเปลือง bandwidth โดยไม่จ าเป็ น
8. ควรป้องกนั ลิขสทิธ์ิของเว็บไซตด์้วยการใสเคร่ืองหมาย trademark (TM) หรือเครื่องหมาย 
Copyright ไว้ในเว็บเพจแต่ละหน้าด้วย
9. ควรใส่ Email address ของท่านไว้ด้านล่างของเว็บเพจแต่ละหน้า เพื่อให้ผู้เรียกชมสามารถ
สอบถามเพิ่มเติม หรือติดต่อท่านได้91
10. ท่านควรใส่ URL ของเว็บไซต์ไว้ด้านล่างของเว็บเพจแต่ละหน้าด้วย เพื่อเป็ นแหล่งอ้างอิงใน
อนาคตส าหรับผู้ที่สั่งพิมพ์เว็บเพจนั้น
11. ควรใส่วันที่ของการแก้ไขข้อมูลบนเว็บไซต์ครั้งสุดท้ายไว้ด้วย เพื่อให้ผู้เรียกชมทราบว่าข้อมูลที่
ได้รับนั้นมีความทันสมัยเพียงใด
12. ห้ามไมให้เว็บ ไซดมีเนือ้หาท่ีละเมิดลขิสิทธ์ิมีเนื้อหาที่ตีความไปในทางลามกอนาจาร หรือการใช้
ความ รุนแรง เนื้อหาที่ขัดต่อกฎหมาย ผู้จัดท าเว็บไซต์จะต้องเป็ นผู้รับผิดชอบต่อเนื ้อหาและข้อมูลทั้งหมดในเว็บไซต์นั้น
จรรยาบรรณเกี่ยวกับจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (email) และแฟ้มข้อมูล
ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทุกคนมีตู้จดหมาย (mailbox) และอีเมล์แอดเดรสที่ใช้อ้างอิงในการรับส่งจดหมาย
ความรับผิดชอบต่อการใช้งานจดหมายอิเล็กทรอนิกส์เป็ นเรื่องที่ทุกคนต้องให้ความส าคัญอย่างมาก เพราะระบบจะรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์โดยอัตโนมัติหากมีจดหมายค้างในระบบเป็ นจ านวนมากจะท าให้พื ้นที่จัดเก็บจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ของระบบหมดไป ส่งผลให้ระบบไม่สามารถรับส่งจดหมายได้อีก ท าให้ผู้ใช้ทุกคนในระบบไม่สามารถรับส่งจดหมายที่ส าคัญได้อีกต่อไป นอกจากนี้ผู้ใดผู้หนึ่งส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่มีขนาดใหญ่มาก ส่งแบบกระจายเข้าไปในระบบเดียวกันพร้อมกันหลายคน จะท าให้ระบบหยุดท างานได้เช่นกันผู้ใช้ทุกคนพึงระลึกเสมอว่า เครื่องคอมพิวเตอร์ที่จัดเก็บตู้จดหมายของแต่ละคนมิได้มีผู้ใช้เพียงไม่กี่คนแต่อาจมีผู้ใช้เป็ นพันคน หมื่นคน ดังนั้นระบบอาจมีปัญหาได้ง่าย ผู้ใช้แต่ละคนจะต้องมีความรับผิดชอบในการดูแลตู้จดหมายของตนเอง ดังนี้
1. ตรวจสอบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ของตนเองทุกวัน และจะต้องจัดเก็บแฟ้ มข้อมูลและจดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์ของตนให้เหลือภายในโควต้าที่ผู้บริหารเครือข่ายก าหนดให้
2. ลบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่ต้องการแล้ว ออกจากระบบเพื่อลดปริมาณการใช้เนื้อที่ระบบ
3. ดูแลให้จ านวนจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่อยู่ในตู้จดหมาย มีจ านวนน้อยที่สุด
4. ควรโอนย้ายจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่จะใช้อ้างอิงภายหลัง มายังเครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเอง
5. พึงระลึกเสมอว่าจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เก็บไว้ในตู้จดหมายนี้อาจถูกผู้อื่นแอบอ่านได้ดังนั้น
   ไม่ควรจัดเก็บข้อมูลหรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่ได้ใช้แล้วไว้ในตู้จดหมาย
หลังจากผู้ใช้ได้รับบัญชี(account) ในโฮสจากผ้บู ริหารเครือข่า ย ผู้ใช้จะได้รับสิทธ์ิให้ใช้เนื้อที่ของระบบ ซึ่งเป็ นเนื้อที่เฉพาะที่เรียกว่า "โฮมไดเรกทอรี" ตามจ านวนโควต้าที่ผู้บริหารเครือข่ายก าหนด ผู้ใช้จะต้องมีความรับผิดชอบต่อเนื้อที่ดังกล่าว เพราะเนื้อที่ของระบบเหล่านี้เป็ นเนื้อที่ที่ใช้ร่วมกัน เช่นโฮสแห่งหนึ่งมีผู้ใช้ร่วมกันสามพันคน ถ้าผู้บริหารเครือข่ายก าหนดเนื้อที่ให้ผู้ใช้คนละ 3 เมกะไบต์โฮสจะต้องมีเนื้อที่จ านวน 9 จิกะไบต์โดยความเป็ นจริงแล้ว โฮสไม่มีเนื้อที่จ านวนมากเท่าจ านวนดังกล่าว เพราะผู้บริหาร92เครือข่ายคิดเนื้อที่โดยเฉลี่ยของผู้ใช้เป็ น 1 เมกะไบต์ดังนั้นถ้าผู้ใช้ทุกคนใช้พื้นที่ให้พอเหมาะและจัดเก็บเฉพาะแฟ้ มข้อมูล ที่จำเป็ นจะทำให้ระบบมีเนื้อที่ใช้งานได้มาก ผู้ใช้ทุกคนควรมีความรับผิดชอบร่วมกันดังนี้
1. จัดเก็บแฟ้ มข้อมูลในโฮมไดเรกทรอรีของตนให้มีจำนวนต่ำที่สุด ควรโอนย้ายแฟ้ มข้อมูลมาเก็บไว้ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเอง
2. การแลกเปลี่ยนแฟ้ มข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ของตนและผู้อื่นในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ควรจะตรวจสอบไวรัสเป็ นประจ า เพื่อลดการกระจายของไวรัสในเครือข่าย
3. พึงระลึกเสมอว่าแฟ้ มข้อมูลของผู้ใช้ที่เก็บไว้บนเครื่องนั้น อาจได้รับการตรวจสอบโดยผ้ที่มีสิทธ์ิสงูกว่า ดังนั้นผู้ใช้ไม่ควรเก็บแฟ้ มข้อมูลที่เป็ นเรื่องลับเฉพาะไว้บนโฮสประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตต่อการจัดการศึกษา
             จากคุณสมบัติและปัจจัยต่างๆ ที่อินเทอร์เน็ตมีให้แก่ผู้ใช้นั้น เป็ นโอกาสในการนำมาใช้ประโยชน์ทางการศึกษาในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งมีสาระส าคัญต่อการศึกษาเป็ นอย่างมาก ดังนี้
1. เปิดโอกาสให้ครูอาจารย์นักเรียน และนักศกึษา สามารถเข้าถงึแหล่งความรู้ท่ี
หลากหลาย หรือเสมือนหนึ่งมี" ห้องสมุดโลก" (Library of the World) เพียงปลายนิ้วสัมผัส เช่น ครูและนักเรียนสามารถค้นหาหรือสืบค้นข้อมูลจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ได้ทั่วโลกโดยไม่มีข้อจ ากัด ทางด้านสถานที่ และเวลา(Anywhere & Anytime) คณาจารย์และนักเรียนที่ด้อยโอกาส อันเนื่องมาจากความห่างไกล ทุรกันดาร ขาดแหล่งห้องสมุดที่ดี สามารถค้นหา ข้อมูลข่าวสารและความรู้ได้อย่างเท่าเทียมกันมากยิ่งขึ้นเด็กนักเรียนเอง สามารถร่วมกันผลิตข้อมูลในแขนงต่าง ๆ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับพันธุ์
พืช ธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ชุมชน ศิลปะ วัฒนธรรมท้องถิ่น ภูมิปัญญา
ชาวบ้าน เพื่อเผยแพร่แลกเปลี่ยนกับเด็กทั่วโลกในขณะที่ครูสามารถน าเนื้อหาทางวิชาการที่มีประโยชน์ เช่น บทความทางวิชาการ เอกสารการสอนลงในเว็บไซต์เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาและแลกเปลี่ยนภายในวงการซึ่งกันและกัน
2. พฒั นาการส่ือสารระหว่างครูกับนักเรียน ซึ่งมีผลสืบเนื่องมาจากการที่อินเทอร์เน็ต สามารถ
ให้บริการไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีความสะดวก รวดเร็ว แม่นย า และง่ายต่อการใช้ ท าให้เกิดการสื่อสารเพิ่มมากขึ้นในระบบการศึกษา ทั้งที่เป็ นการสื่อสารระหว่างครูกับครู ครูกับนักเรียน และระหว่างนักเรียนกับนักเรียนเองซึ่งในปัจจุบันคณาจารย์จ านวนมากในหลายสถาบันทั้งระดับมัธยมศึกษา และอุดมศึกษา ได้ใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็ น สื่อกลางในการให้การบ้าน รับการบ้าน และตรวจส่งคืนการบ้าน ในขณะเดียวกันการสื่อสาร ระหว่าง
นักเรียนสามารถช่วยส่งเสริมการท างานกลุ่ม การปรึกษาหารือกับครูและเพื่อนนักเรียนในเชิงวิชาการ
3. เปล่ียนบทบาทของครูและนักเรียน การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนการสอน จะท าให้บทบาท
ของครูปรับเปลี่ยนไปจากการเน้นความเป็ น "ผู้สอน" มาเป็ น "ผู้แนะนา  " มากขึ้น ในขณะที่กระบวนการเรียนรู้ของนักเรียนจะเป็ นการเรียนรู้"เชิงรุก" มากขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากฐานข้อมูลในอินเทอร์เน็ตเป็ นปัจจัยบวก93ที่ส าคัญที่จะเอื้ออ านวยให้นักเรียนสามารถเรียนและค้นคว้าได้ด้วยตนเอง (independent learning) ได้สะดวกรวดเร็ว และมากยิ่งขึ ้นแต่อย่างไรก็ตามก็มีความจ าเป็ นที่จะต้องตระหนักว่า บทบาทและรูปแบบที่จะปรับเปลี่ยนไปนี้จะต้องมีการเตรียมการที่ดีควบคู่ไปด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนของครูที่จะต้องวางแผนการ "ชี้แนะ" ให้รัดกุม เพื่อให้การเรียนรู้ของเด็กมีประสิทธิผลดีขึ ้น ปรับจากการเรียนตามครูสอน(passive learning) มาเป็ นการเรียนรู้วิธีเรียน (learning how to learn) และเป็ นการเรียนด้วยความอยากรู้(active learning) อย่างมีทิศทาง.